การเลี้ยงปลาช่อน : รูปร่างลักษณะ และอุปนิสัย ของปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : รูปร่างลักษณะ และอุปนิสัย ของปลาช่อน


รูปร่างลักษณะ ของ ปลาช่อน
     ปลาช่อนเป็นปลามีเกล็ด ลำตัวอ้วนกลม ยาวเรียว ท่อนหางแบบข้าง หัวแบนลง เกล็ดมีขนาดใหญ่ ปากกว้างมาก มีฟันซี่เล็ก ๆ อยู่บนขากรรไกรทั้งสองข้าง ครีบทุกครีบไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหลังและครับก้นยาวเกือบถึงโคนหาง ครีบหางกลม ลำตัวส่วนหลังมีสีดำ ท้องสีขาว ด้านข้างลำตัวมีลายดำพาดเฉียง มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ปลาช่อนจึงสามารถเคลื่อนไหวไปบนบกหรือฝังตัวอยู่ในโคลนดินได้เป็นเวลานาน

การเลี้ยงปลาช่อน : แหล่งกำเนิดและการกระจายของปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : แหล่งกำเนิดและการกระจายของปลาช่อน


     ปลาช่อนเป็นปลาน้ำจืด อาศัยอยู่ตามแม่น้ำ (ที่กระแสน้ำไหลอ่อน ๆ) เช่น หนอง, ลำคลอง, บึง, บ่อ, และคูน้ำ ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในฤดูฝนปลาช่อนจะขึ้นไปหาอาหารและวางไข่ตามทุ่งไร่ ทุ่งนา เป็นอันมาก นอกจากนี้ยังพบว่าปลาช่อนนั้นสามารถอยู่ได้ในน้ำกร่อย เช่น บริเวณคลองเขตอำเภอบางประกง ซึ่งน้ำมีความเค็มที่ 0.2-0.3 % และมีค่า pH ตั้งแต่ 4.0-9.0

การเลี้ยงปลาช่อน : การเพาะ-ขยายพันธุ์ปลาช่อน มีลักษณะ ดังนี้


การเลี้ยงปลาช่อน : การเพาะ-ขยายพันธุ์ปลาช่อน มีลักษณะ ดังนี้


     ปลาช่อนสามารถวางไข่ได้เกือบตลอดทั้งปี สำหรับฤดูผสมพันธุ์ของปลาช่อนจะเริ่มวางไข่ตั้งแต่เดือนมีนาคม-ตุลาคม ช่วงที่แม่ปลาช่อนมีความพร้อมที่สุด คือ เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม

การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ ปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ ปลาช่อน


     เลี้ยงปลาช่อนในบ่อซีเมนต์แบบรวมเพศ ในอัตราปล่อย 10 ตัวต่อตารางเมตร น้ำหนักรวม 100 กิโลกรัม ต่อบ่อ บ่อขนาด 50 ตารางเมตร ให้อาหารเม็ดลอยน้ำสำหรับปลาดุกเล็กโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2 ครั้ง ในอัตรา 2 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักตัว เปลี่ยนถ่ายน้ำทั้งบ่อพร้อมล้างทำความสะอาดเดือนละ 2 ครั้ง (ไม่จำเป็นต้องใช้ปั้มเพิ่มอ๊อกซิเจนในน้ำ ปลาก็อยู่ได้)

การเลี้ยงปลาช่อน : การเพาะพันธุ์ปลาช่อน ด้วยฮอร์โมนสังเคราะห์

 

การเลี้ยงปลาช่อน : การเพาะพันธุ์ปลาช่อน ด้วยฮอร์โมนสังเคราะห์


การคัดเลือกพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ปลาช่อน

          การคัดเลือกพ่อพันธุ์-ปลาช่อน จะพิจารณาจากลักษณะภายนอก โดยแม่ปลาช่อนที่มีความพร้อมผสมพันธุ์ท้องจะอูม ช่องเพศจะกลมขนาดใหญ่ สีชมพูหรือแดง ส่วนพ่อปลาช่อน ลำตัวยาวเรียว ช่องเพศเป็นติ่งเรียวแหลม สีพื้นท้องเข้มกว่าแม่ปลาช่อน

การเลี้ยงปลาช่อน : การอนุบาลปลา ลูกปลาช่อน

การเลี้ยงปลาช่อน : การอนุบาลปลา ลูกปลาช่อน


การอนุบาลลูกปลาช่อนเบื้องต้น

     ไข่ปลาช่อนจะฟักเป็นตัวภายใน 30-36 ชั่วโมง และถึงไข่แดงจะยุบภายใน 3 วัน หลังจากถุงไข่แดงยุบ ควรให้ไรแดงเป็นอาหารแก่ลูกปลาช่อนในอัตราความหนาแน่โดยประมาณ 50 ตัว ต่อลิตร ระยะเวลา 2-3 วัน แล้วนำลงอนุบาลต่อในบ่อดิน

การเลี้ยงปลาช่อน : การเตรียมบ่อเลี้ยงปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : การเตรียมบ่อเลี้ยงปลาช่อน


     การเลี้ยงปลาช่อนเพื่อให้ได้ขนาดตามที่ตลาดต้องการนั้น เกษตรกรจะนิยมเลี้ยงในบ่อดิน ซึ่งจะมีหลักการเตรียมบ่อดิน เหมือนกับการเตรียมบ่อเลี้ยงปลาทั่ว ๆ ไป ดังนี้

การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงปลาช่อนด้วยอาหารสด


การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงปลาช่อนด้วยอาหารสด


     ปลาช่อน เป็นปลากินเนื้อ อาหารที่ใช้เลี้ยงปลาช่อนจึงต้องเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง โดยทั่วไปเกษตรกรนิยมเลี้ยงด้วยปลาเป็ด

การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงปลาช่อน ด้วยอาหารสำเร็จรูปอัดเม็ด


การเลี้ยงปลาช่อน : การเลี้ยงปลาช่อน ด้วยอาหารสำเร็จรูปอัดเม็ด


ขั้นตอนการเลี้ยง
     แม้ว่าปลาช่อนจะเป็นปลากินเนื้อ แต่เกษตกรสามารถฝีกให้ปลาช่อนกินอาหารสำเร็จรูปชนิดเม็ดได้ และปลาช่อนที่ได้จากการเพาะในปัจจุบัน ลูกปลาจะเคยชินกับอาหารชนิดเม็ด เพราะเราหัดให้ลูกปลากินตั้งแต่ยังเล็ก

การเลี้ยงปลาช่อน : โรคของปลาช่อน และการป้องกัน


การเลี้ยงปลาช่อน : โรคของปลาช่อน และการป้องกัน


1. โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
     โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ของปลาช่อน คือ แอโรโมนาส, โฮโดรฟิลา, เฟลคซิแบคเตอร์, คอลัมนาริส, และไมโคแบคมีเรียม อาหารของโรคโดยทั่วไปที่พบ ได้แก่ ผิวหนังบริเวณเกร็ดเกิดแผลที่มีลักษณะช้ำเป็นจุดแดง ๆ สีลำตัวซีด หรือด่างขาวเมือกมากผิดปกติ, เกร็ดหลุด, แผลเน่าเปื่อย, ว่ายน้ำผิดปกติ, เสียการทรงตัวหรือตะแคงข้าง, เอาตัวซุกขอบบ่อ, ครีบเปื่อยแหว่ง, ตาฝางหรือตาขุ่นขาว, ตาบอด, ปลาช่อนจะกินอาหารน้อยลง

การเลี้ยงปลาช่อน : ปัญหาและอุปสรรค ในการเลี้ยงปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : ปัญหาและอุปสรรค ในการเลี้ยงปลาช่อน


     1. ปลาช่อนเป็นปลากินเนื้อและกินจุ จำเป็นต้องมีปริมาณน้ำเพียงพอเพื่อเปลี่ยนถ่ายน้ำในช่วงการเลี้ยง

การเลี้ยงปลาช่อน : แนวโน้มทางด้านการตลาด ของปลาช่อน


การเลี้ยงปลาช่อน : แนวโน้มทางด้านการตลาด ของปลาช่อน

     ปลาช่อนเป็นปลาที่มีรสชาติดี อีกทั้งยังสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลายอย่าง จึงมีผู้นิยมบริโภคปลาช่อนอย่างแพร่หลาย ทำให้มีแนวโน้มทางด้านการตลาดดี สามารถส่งผลผลิตและผลิตภัณธ์ไปสู่ตลาดท้้งในประเทศและต่างประเทศได้เป็นอย่างดี

การเลี้ยงปลาช่อน : ต้นทุน และผลตอบแทน การเลี้ยงปลาช่อนในบ่อดิน


การเลี้ยงปลาช่อน : ต้นทุน และผลตอบแทน การเลี้ยงปลาช่อนในบ่อดิน (ข้อมูล พ.ศ. 2556)


     ถ้าพูดถึงต้นทุนในการเลี้ยงปลาช่อนนั้น ต้องบอกเลยว่าสูงทีเดียว แต่กำไรนั้นก็ถือว่าคุ้มค่ากับการลงทุนในเนื้อที่ขนาดนี้ ส่วนการลงทุนเลี้ยงปลาช่อนนั้นจะมีผลลับอย่างไร เชิญดูในตารางดังนี้ครับ

บทความแนะนำ เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาข่อน